การ์ดปีใหม่แบบไทยๆ
วันศุกร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2553
การบ้านครั้งที่4 วิชาcontemporary
หอนาฬิกาเชียงราย
หอนาฬิกาเชียงราย หอนาฬิกาเปลี่ยนสี ที่ออกแบบสร้างสรรค์โดยอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินแห่งชาติชาวเชียงรายหรือผู้ที่สร้างความวิจิตรงดงามของวัดร่องขุ่น นั่นเอง หอนาฬิกาแห่งนี้ สร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถและเพื่อร่วมสมโภชเมืองเชียงราย หอนาฬิกาพุทธศิลป์หรือหอนาฬิกาเปลี่ยนสีแห่งนี้ สร้างแทนที่หอนาฬิกาอาคารเดิมซึ่งปัจจุบันได้ ย้ายไปที่ตลาดสดเทศบาลแทน ใกล้กับโรงรับจําานําาอยู่ห่างกันเพียง 500 เมตร เท่ากับว่าที่เชียงรายมี หอนาฬิกาถึง 2 แห่ง
หอนาฬิกาอาคารใหม่นี้มีความวิจิตรอลังการ มีสีเหลืองทองเปล่งประกายระยิบระยับตามแบบฉบับ การก่อสร้างโดยฝีมืออาจารย์ เฉลิมชัย ใช้เวลาในการก่อสร้างนานถึง 5 ปี ปัจจุบันหอนาฬิกา เปลี่ยนสีแห่งนี้กลายเป็นจุดท่องเที่ยวและเป็นไฮไลท์ในยาม ค่ําาคืนของนักท่องเที่ยวที่ได้มาเยือน เชียงราย ทุกวันเวลา 19.00 20.00 และ 21.00 น. นักท่องเที่ยวจําานวนมากจะมารอชมความ งดงามของหอนาฬิกาเปลี่ยนสี เมื่อถึงเวลานั้นหอนาฬิกาจะเปลี่ยนสี จากสีทองเป็นสี แดง เหลอง ส้ม เขียว ชมภูและสีอื่นๆ พร้อมกับเสียงดนตรีบรรเลงเพลงเชียงรายรําาลึก บทเพลงอันมีความหมาย ของเชียงรายดังเช่น ณ ราตรีหนึ่ง ซึ่งยังฝังใจ เชียงรายฟ้าแจ่ม จบด้วย เมื่อคืนเดือนหงาย นิยาย สวาท บาดหัวใจไม่ลืม เป็นเพลงที่ได้ฟังคราวใดก็ไพเราะทุกครั้งไป ท่านสามารถไปชมความงดงาม ของหอนาฬิกาเปลี่ยนสีเชียงราย ได้ทุกวันเวลา่1 ทุ่ม 2 ทุ่ม และ 3 ทุ่ม การแสดงแต่ละครั้งใช้เวลา ประมาณ 10 นาที
ที่ชอบผลงานชิ้นนี้เพราะคิดว่าผลงานชิ้นนี้เป็น การออกแบบแบบไทยร่วมสมัยชิ้นหนึ่งโดยที่ตอ นที่ดูผ่านๆเราจะเห็นว่าเป็นการออกแบบแบบ ไทยมากๆแต่พอได้ไปดูในช่วงเวลาที่มีการแสดง แล้วสิ่งที่เกิดขึ้นคือลูกเล่นต่างๆในยุคสมัยนี้คือ การนําาเอา แสง สี เสียง มาใช้ในงานด้วยโดยไม่ ได้เป็นแค่ประติมากรรมที่ทําาขึ้นมาสวยๆเพียง อย่างเดียว
การบ้านครั้งที่3 วิชาcontemporary
Bangkok International Design Festival 2010
เทศกาลออกแบบบางกอก เป็นเทศกาลที่รวม เอาดีไซเนอร์ สถาปนิค และผู้ประกอบการ ด้านการออกแบบของไทย มารวมตัวกับจัด Showcase, Exhibition, Talk, workshop, Market และกิจกรรมอื่น ๆ อีก มากมาย ตั้งแต่ปี 2007 ด้วยจุด มุ่ง หมายท่ีว่าหน่ึงทีปีหนที่เหล่า นักออกแบบไทยจะได้มารวมตัวแสดงพลัง และ บอกกับสาธารณะชนว่างานออกแบบไทยล้ำไกลไปสากลแล้ว
ในปีนี้จะเกิดงานใหญ่อย่าง Thailand International Creative Economy Forum (TICEF) คือการประชุมด้านเศรษฐกิจและความ คิดสร้างสรรค์ระดับนานาชาติช่วงปลายเดือน พฤศจิกายน เทศกาลออกแบบบางกอกจึงเข้าร่วมและกลายเป็นหนึ่ง ใน event หลักของการ ประชุมนี้ เทศกาลออกแบบบางกอก 2010 (Bangkok International Design Festival 2010) ภายใต้หัวข้อ Love & Friendship จะ มีขึ้น ในวันที่ 20 – 30 พฤศจิกายน Venue หลักๆได้แก่ Hub A ; Central World, Hub B ; หอศลิปะวัฒนธรรมกรุงเทพ (BACC) หน้ามาบญุครอง, แกลรอลี่ และโรงแรมต่างๆ ตาม เส้นทาง BTS รวมไปถึง Sky walk บริเวณแยกราชประสงค์ทั้งหมด (HUB C, D, E, F)
ลักษณะของงานมีด้วยกัน 3 กลุ่มใหญ่ๆ
- Love & Friendship คอื main exhibition ที่อยู่ภายใต้หัวข้อประจำปีที่เน้นถึงความรัก มิตรภาพและการแลกเปลี่ยนทางการออกแบบ โดยเป็น ความร่วมมือกันของ Designer ไทย ร่วมกับ Designer ต่างชาติร่วมกันผลิตงานมาแสดง เช่น CE character design ที่คนไทย ออกแบบและร่วมทำลายโดย Designer จาก ทั่ว โลก, Pomme Chan สาวไทยนักวาดภาพประกอบที่ได้รับเลือกไปออกแบบ wallpaper ให้กับ Microsoft ลายเสื้อผ้าให้ topshop จับมือทําางานกับ Sean Freeman นักออกแบบตัวอักษรที่ดังท่ีสุดคนหนึ่งในโลกเป็น ต้น งานส่วน นี้มาจากหลากหลาย Designer กระจายตัวอยู่ตาม HUB ต่างๆ
- Next Station Bangkok ( Creative Market Zone) ตลาดนัดงานออกแบบ ท่ีมีทั้งผลิตภัณฑ์ โปสเตอร์ สิ่ง พิมพ์ แฟชั่น และอื่นๆ ที่หักมุม โดดเด่น เติมเต็มจินตนาการ แปลก ใหม่ไม่ซ้ำใครจาก นักออกแบบรุ่น ใหม่ อย่าง BADstore, MAKE [ ], และ Open studio ท่ี จะแสดงกระบวนการสร้างงานเก๋ไก๋ เช่นการนำเซรามิครูปทรงใหม่ ๆ บวกเข้ากับลายเบญจรงค์ จาก Studio Make, งานปูนที่ผสมผสานงานผ้า จาก Designer ไทย จารุพัชร อาชวะสมติ และ designer Ireland, Trish Belford เป็นต้น อีกทั้งยังมี brand ดังอย่าง Greyhound มาเสอน ผลงานอย่างที่ไม่เคยทำมาก่อนเป็น Surprise - Exhibitions and Showcases งานแสดง ในส่วนน้ีกระจายไปใน HUB ต่างๆ งานที่เป็น commercial จะอยู่ใน HUB A ; CTW งาน ที่เป็น ART และ DESIGN จะอยู่ใน HUB B ; BACC หอศิลป์กทม.หน้ามาบุญครอง ตัวอย่าง เช่น นิทรรศการงานออกแบบดีเด่นจากประเทศญี่ปุ่น GMARK, งานออกแบบดีเด่นของไทย DMARK, DMY งานดีไซน์ล่าสุดส่งตรงจาก Berlin, Design for Disaster กลุ่ม Designer ที่เก็บซากสิ่งของจากเหตกุารณค์วามรุนแรง เดือนพฤษภามาสร้างเป็นงานชิ้นใหม่, Grand Poster Show, SCG “Next Dwelling” , Showcase ของเหล่า Designer ทั้งไทยและ เทศ
“ทุกๆ เร่ืองราวในโลกนี้เริม่ ต้นจากเรอ่ื งเลก็ ๆ หลายๆ เรอื่ งมาปะติปะต่อรวมกันเปน็ ภาพ ใหญ่ รวมทั้งเรื่องความรักและมิตรภาพ ล้วน ประกอบไปด้วยสงิ่ละอันพันละน้อยทมี่คีวาม หมายชวนจดจําาด้วยกันทงั้นั้น....”
จากที่ได้ไปดูงานมาโดยส่วนตัวจะชอบผลงาน ชิ้นนี้ ผลงานชิ้นนี้ เป็นผลงานในนิทรรศการ “ประเทศไทยท่ีรักษ์”ของกลุ่มนักออกแบบ โดยนักแต่งภาพ,นักวาดภาพประกอบและนักออกแบบกราฟฟิคสามท่านคือคุณชูติวัต เชิดชู,คุณวุฒิกร เอกรัตนสมภพ และคุณฑิพาภรณ์ ตระกูลพูนทรัพย์ โดยงานชิ้นน้ีจัดอยู่ที่ห้าง เซ็นทรัลเวิลด์ตรงประตูทางเชื่อมกับสกายวอค รูปที่สื่อออกมาเป็นรูปของเก้าอี้ตัวหนึ่งโดยเก้าอี้ตัวน้ีถูกพันไปด้วยใยแมงมุมทและมีปีกของผีเส้ือติดอยู่ ในใยแมงมุมน้ันด้วยที่ ชอบเพราะอยากรู้ว่า รูปน้ีพยายามจะสื่อความหมายอะไร
วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ทำไมโลกนี้.....ถึงต้องมีนักออกแบบ?
ทำไมโลกนี้ถึงต้องมีนักออกแบบ?
คำถามนี้ผมคิดว่ามันค่อนข้างที่จะอธิบายและให้คำตอบที่ชัดเจนค่อนข้างยาก
ตามความคิดส่วนตัวของผมนั้นการที่ มนุษย์นั้นมีความต้องการที่ไม่สิ้นสุดจึงทำให้ต้องมีเครื่องอำนวนความสะดวกสบายและนั้นเองก็เป็นหน้าที่หนึ่งของนักออกแบบ และนักออกแบบยังทำให้โลกมีความตื่นตัวที่จะรอคอยสิ่งใหม่ๆที่จะเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา นักออกแบบจึงสามารถเป็นแรงขับเคลื่อนของสังคมเพราะการออกแบบเป็นสิ่งที่มีความเชื่อมโยงกันกับสังคมอย่างที่ได้กล่าวมา แต่การเป็นนักออกแบบมันเป็นอ่ะไรที่ใครๆก็เข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมกัน ไม่มีใครถูก ใครผิด อย่างแท้จริง ไม่เหมือนวิชาชีพชนิดอื่นๆ ที่เราจำเป็นต้องเรียนโดยตรง เราต้องเรียนวิทยาศาสตร์ ถึงจะจบมาเป็นนักวิทยาศาสตร์ได้ ต้องเรียนแพทย์ จึงจบมาเป็นหมอ ต้องจบวิศวะถึงจะมาทำงานเป็นวิศวกรได้ แต่หมอ วิศวกร นักฎหมาย นักวิทยาศาสตร์นั้น ทุกคนสามารถใช้เวลาว่างเขียนรูปได้ ทำกราฟิกได้ ฝึกเล่นเครื่องดนตรีได้ ใช้เวลากับงานอดิเรกศิลปะชนิดไหนก็ได้ แต่คนเรียนออกแบบไม่สามารถไปเดินควบคุมเครื่องจักรเล่นๆในโรงงานได้ ไม่สามารถไปทดลองยาในห้องวิจัยได้ถ้าเราไม่รู้เรื่องนั้นๆเลย ไปผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจคนไข้เล่นยามว่างๆก็ไม่ได้ ไปจ่ายยาคนไข้เล่นๆยังไม่ได้เลย และสุดท้ายมันจึงกลายเป็นคำถามที่กลับมาว่าทำไมโลกถึงต้องมีนักออกแบบ?
คำถามนี้ผมคิดว่ามันค่อนข้างที่จะอธิบายและให้คำตอบที่ชัดเจนค่อนข้างยาก
ตามความคิดส่วนตัวของผมนั้นการที่ มนุษย์นั้นมีความต้องการที่ไม่สิ้นสุดจึงทำให้ต้องมีเครื่องอำนวนความสะดวกสบายและนั้นเองก็เป็นหน้าที่หนึ่งของนักออกแบบ และนักออกแบบยังทำให้โลกมีความตื่นตัวที่จะรอคอยสิ่งใหม่ๆที่จะเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา นักออกแบบจึงสามารถเป็นแรงขับเคลื่อนของสังคมเพราะการออกแบบเป็นสิ่งที่มีความเชื่อมโยงกันกับสังคมอย่างที่ได้กล่าวมา แต่การเป็นนักออกแบบมันเป็นอ่ะไรที่ใครๆก็เข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมกัน ไม่มีใครถูก ใครผิด อย่างแท้จริง ไม่เหมือนวิชาชีพชนิดอื่นๆ ที่เราจำเป็นต้องเรียนโดยตรง เราต้องเรียนวิทยาศาสตร์ ถึงจะจบมาเป็นนักวิทยาศาสตร์ได้ ต้องเรียนแพทย์ จึงจบมาเป็นหมอ ต้องจบวิศวะถึงจะมาทำงานเป็นวิศวกรได้ แต่หมอ วิศวกร นักฎหมาย นักวิทยาศาสตร์นั้น ทุกคนสามารถใช้เวลาว่างเขียนรูปได้ ทำกราฟิกได้ ฝึกเล่นเครื่องดนตรีได้ ใช้เวลากับงานอดิเรกศิลปะชนิดไหนก็ได้ แต่คนเรียนออกแบบไม่สามารถไปเดินควบคุมเครื่องจักรเล่นๆในโรงงานได้ ไม่สามารถไปทดลองยาในห้องวิจัยได้ถ้าเราไม่รู้เรื่องนั้นๆเลย ไปผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจคนไข้เล่นยามว่างๆก็ไม่ได้ ไปจ่ายยาคนไข้เล่นๆยังไม่ได้เลย และสุดท้ายมันจึงกลายเป็นคำถามที่กลับมาว่าทำไมโลกถึงต้องมีนักออกแบบ?
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)